การรับน้ำหนักบรรทุกของนั่งร้านตามมาตรฐานอังกฤษ

การรับน้ำหนักบรรทุกของนั่งร้านตามมาตรฐาน


การสร้างนั่งร้าน 

ก่อนทำการสร้างหรือออกแบบนั่งร้าน ผู้ใช้งานควรทราบชัดเจนว่าต้องการนั่งร้านเพื่อใช้งานในวัตถุประสงค์อะไรเป็นสำคัญ 

ยกตัวอย่างเช่น เพื่อการทาสี เพื่องานก่อสร้าง หรือเพื่อการรับน้ำหนัก และน้ำหนักที่ต้องรับนั้นกี่กิโลกรัม

น้ำหนักนั้นรวมน้ำหนักงานกับน้ำหนักผู้ปฏิบัติงานแล้วใช่หรือไม่

เพื่อให้ผู้ที่ทำการสร้าง สามารถสร้างหรือออกแบบนั่งร้านได้ตรงตามความต้องการของผู้ใช้งาน

ในส่วนของตัววัสดุที่ใชในการก่อสร้างนั่งร้านนั้น ตามมาตรฐานกฎหมายเมืองไทย มีข้อกำหนดสำหรับนั่งร้านอยู่หลากหลายประเภท เช่น

นั่งร้านที่สร้างด้วยไม้

ต้องรับน้ำหนักบรรทุกได้ไม่น้อยกว่าสี่เท่า

เช่น สร้างแล้วต้องการรับน้ำหนักบรรทุกที่ 200 กิโลกรัม ผู้สร้างต้องสร้างให้รับน้ำหนักได้ไม่น้อยกว่า 800 กิโลกรัม นั่นคือสี่เท่าแห่งการใช้งาน


นั่งร้านที่สร้างด้วยโลหะ

ต้องรับน้ำหนักบรรทุกได้ไม่น้อยกว่าสองเท่า


นั่งร้านชนิดท่อ ( Pipe Clamp )

ที่สร้างตามมาตรฐานอังกฤษนั้น หากระยะเสายิ่งถี่ การรับก็จะยิ่งมากตามไปด้วย

โดยมาตรฐานดังกล่าว ได้กำหนดตามระยะความห่างของเสา และแบ่งนั่งร้านออกเป็น

Very Light Duty, Light Duty, General Purpose, Heavy Duty, Special Duty ดังภาพแสดง


นั่งร้าน,อุปกรณ์นั่งร้านเหล็ก,นั่งร้านกัลวาไนซ์


-----------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------

#‎ข้อเสือSC4248 #‎SHDT #‎SWIVEL_CLAMP #‎ข้อเสือนั่งร้าน #‎อุปกรณ์นั่งร้าน #‎นั่งร้าน
#‎siamheavy #‎ข้อเสือ #‎นั่งร้านราคาถูก #‎นั่งร้านเหล็ก #‎เกลียวปรับ #‎เกลียวปรับนั่งร้าน #‎ฝาครอบนั่งร้าน #‎ข้อต่อนั่งร้าน #‎ขาตั้งนั่งร้าน #‎ล้อนั่งร้าน 
#นั่งร้านเหล็ก #‎นั่งร้านกัลวาไนซ์ #‎กากบาทนั่งร้าน #‎นั่งร้านขอนแก่น #‎นั่งร้านกรุงเทพ #‎ขอนแก่น #‎สยามเฮฟวี่ #‎scaffoldthai
#‎scaffolding #‎scaffoldingframe #‎coupler #‎scaffolding_equipment #‎scaffolding_mainframe #‎scaffolding_coupler
#นั่งร้านมาตรฐาน #การออกแบบนั่งร้าน #การตั้งนั่งร้านที่ถูกต้อง #การรับน้ำหนักของนั่งร้าน #นั่งร้านญี่ปุ่น #กฏหมายนั่งร้าน #น้ำหนักนั่งร้าน #มาตรฐานนั่งร้านญี่ปุ่น